OUR BLOG

เมื่อสั่งซื้อของ และ มีค่าขนส่ง ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย อย่างไร ?

banner web 01 1

ในหลาย ๆ ครั้ง ที่บริษัทมีการสั่งซื้อสินค้าจากทางออนไลน์ หรือ แม้กระทั่งออฟไลน์ ที่มีการจัดส่งสินค้ากันเกิดขึ้น และ ทางร้านได้คิดค่าขนส่งรวมมาด้วย ทุกคนเคยสงสัยกันไหมว่า บริษัทที่เป็นคนสั่งของ จำเป็นต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายไหมนะ ? ซึ่งวันนี้ IDG ก็มีผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชี มาให้สรุปให้ทุกคนอ่านแบบสั้น ๆ และ เข้าใจง่ายกันค่ะ
427230 PDYZ7W 249
บิลส่วนใหญ่ที่พบเห็นกันจะเป็นลักษณะ 3 แบบ หลัก ดังนี้:

  1. ค่าสินค้าและค่าขนส่ง รวมเป็นยอดเดียวกัน
  2. ค่าสินค้าและค่าขนส่ง แยกรายการอยู่บิลเดียวกัน
  3. ค่าสินค้าและค่าขนส่ง แยกบิล

ทั้งนี้ IDG จะมายกตัวอย่างของแต่ละข้อ ให้เห็นภาพกันชัด ๆ ค่ะ

ตัวอย่างข้อ 1 ค่าสินค้าและค่าขนส่ง รวมเป็นยอดเดียวกัน

บริษัท สมพรค้าไม้ จำกัด เป็นกิจการแบบซื้อมาขายไป จำหน่ายไม้ทุกประเภท ได้ขายสินค้าให้กับบริษัท การช่าง จำกัด ซึ่งทางผู้ขายออกบิลใบกำกับภาษีรวมค่าสินค้าและค่าขนส่งเป็นยอดเดียว ในตัวอย่างนี้บริษัท การช่าง จำกัด ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเพราะถือว่าเป็นขายสินค้าทั้งจำนวน

ตัวอย่างข้อ 2 ค่าสินค้าและค่าขนส่ง แยกรายการอยู่บิลเดียวกัน

บริษัท สมพรค้าไม้ จำกัด ขายสินค้าให้บริษัท การช่าง จำกัด โดยออกบิลใบกำกับภาษี แยกราคาค่าสินค้า และค่าขนส่งออกจากกันแต่อยู่ในบิลเดียวกัน และค่าขนส่งได้คิดรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) เข้าไปด้วย จากการณีนี้ เข้าลักษณะเป็นการขายสินค้า ดังนั้น บริษัท การช่าง จำกัด จึงไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย

ตัวอย่างข้อ 3 ค่าสินค้าและค่าขนส่ง แยกบิล

บริษัท สมพรค้าไม้ จำกัด ขายสินค้าให้บริษัท การช่าง จำกัด โดยได้ออกบิลเรียกเก็บค่าสินค้า และค่าขนส่ง แยกเป็น 2 บิลคือ 1. ค่าสินค้า 2. ค่าขนส่ง
ในกรณีนี้ บิลค่าขนส่งต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 1 

IDG บริการรับทำบัญชีและภาษี  รวมถึงให้คำแนะนำ และปรึกษา ฟรี ! ในเรื่องของพื้นฐานทางด้านการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการทำบัญชีและภาษี

โทร: 02-0117161 ต่อ 100,200,300,900

Email: [email protected]

Line: @924hurka หรือ @idgthailand


Click here

Source: กรมสรรพากร – The Revenue Department (rd.go.th)

Facebook
Twitter
LinkedIn

บทความล่าสุด

banner web 01 1

ในหลาย ๆ ครั้ง ที่บริษัทมีการสั่งซื้อสินค้าจากทางออนไลน์ หรือ แม้กระทั่งออฟไลน์ ที่มีการจัดส่งสินค้ากันเกิดขึ้น และ ทางร้านได้คิดค่าขนส่งรวมมาด้วย ทุกคนเคยสงสัยกันไหมว่า บริษัทที่เป็นคนสั่งของ จำเป็นต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายไหมนะ ? ซึ่งวันนี้ IDG ก็มีผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชี มาให้สรุปให้ทุกคนอ่านแบบสั้น ๆ และ เข้าใจง่ายกันค่ะ
427230 PDYZ7W 249
บิลส่วนใหญ่ที่พบเห็นกันจะเป็นลักษณะ 3 แบบ หลัก ดังนี้:

  1. ค่าสินค้าและค่าขนส่ง รวมเป็นยอดเดียวกัน
  2. ค่าสินค้าและค่าขนส่ง แยกรายการอยู่บิลเดียวกัน
  3. ค่าสินค้าและค่าขนส่ง แยกบิล

ทั้งนี้ IDG จะมายกตัวอย่างของแต่ละข้อ ให้เห็นภาพกันชัด ๆ ค่ะ

ตัวอย่างข้อ 1 ค่าสินค้าและค่าขนส่ง รวมเป็นยอดเดียวกัน

บริษัท สมพรค้าไม้ จำกัด เป็นกิจการแบบซื้อมาขายไป จำหน่ายไม้ทุกประเภท ได้ขายสินค้าให้กับบริษัท การช่าง จำกัด ซึ่งทางผู้ขายออกบิลใบกำกับภาษีรวมค่าสินค้าและค่าขนส่งเป็นยอดเดียว ในตัวอย่างนี้บริษัท การช่าง จำกัด ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเพราะถือว่าเป็นขายสินค้าทั้งจำนวน

ตัวอย่างข้อ 2 ค่าสินค้าและค่าขนส่ง แยกรายการอยู่บิลเดียวกัน

บริษัท สมพรค้าไม้ จำกัด ขายสินค้าให้บริษัท การช่าง จำกัด โดยออกบิลใบกำกับภาษี แยกราคาค่าสินค้า และค่าขนส่งออกจากกันแต่อยู่ในบิลเดียวกัน และค่าขนส่งได้คิดรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) เข้าไปด้วย จากการณีนี้ เข้าลักษณะเป็นการขายสินค้า ดังนั้น บริษัท การช่าง จำกัด จึงไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย

ตัวอย่างข้อ 3 ค่าสินค้าและค่าขนส่ง แยกบิล

บริษัท สมพรค้าไม้ จำกัด ขายสินค้าให้บริษัท การช่าง จำกัด โดยได้ออกบิลเรียกเก็บค่าสินค้า และค่าขนส่ง แยกเป็น 2 บิลคือ 1. ค่าสินค้า 2. ค่าขนส่ง
ในกรณีนี้ บิลค่าขนส่งต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 1 

IDG บริการรับทำบัญชีและภาษี  รวมถึงให้คำแนะนำ และปรึกษา ฟรี ! ในเรื่องของพื้นฐานทางด้านการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการทำบัญชีและภาษี

โทร: 02-0117161 ต่อ 100,200,300,900

Email: [email protected]

Line: @924hurka หรือ @idgthailand


Click here

Source: กรมสรรพากร – The Revenue Department (rd.go.th)

ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ IDG

ผู้เชี่ยวชาญของเราพร้อมให้คำแนะนำคุณอย่างเต็มที่

ติดต่อทีมผู้เชี่ยวชาญ